All| Plant| Mushroom| Squid| Shell| Crab| Shrimp| Fish| Bird| Insect| Amphibian| Reptile| Mammal| Group| Wood Property
Look Forest Group
กลุ่ม: ยังไม่ได้เลือกกลุ่ม LFG
 | Refresh |
Look Forest Group
Look Forest Group
[771]
 
กระบากดำ
Shorea farinosa
LFG
 
 
     
 
เลือกกลุ่ม
ไม้และของป่าบางชนิดในประเทศไทย
LFG
 
     
     
 
บันทึกข้อความ
ยังไม่มีบันทึก
LFG
 
     
 
กระบากดำ (Shorea farinosa Fisch. ) T [771]
DIPTEROCARPACEAE
 
  กระบากดำ(ระนอง),เคียนทราย(กระบี่,ตรัง),ตะบากดำ(สุราษฎร์ธานี),มะรันตีสะตา(มลายู สตูล), ยอมกำ,เหล็กปัก(ตรัง),สยา(นราธิวาส),เหี้ยตะงะบ๊ะ(ชุมพร) LFG  
 
  
 
 
อัลบั้ม: กระบากดำ(Shorea farinosa) LFG
 
 
ยังไม่ได้บันทึกข้อมูล
 
   
 
บทความ: กระบากดำ(Shorea farinosa) LFG
 
 
ยังไม่ได้บันทึกข้อมูล
 
   
[771]
กระบากดำ ( Shorea farinosa)
DIPTEROCARPACEAE
กระบากดำ(ระนอง),เคียนทราย(กระบี่,ตรัง),ตะบากดำ(สุราษฎร์ธานี),มะรันตีสะตา(มลายู สตูล), ยอมกำ,เหล็กปัก(ตรัง),สยา(นราธิวาส),เหี้ยตะงะบ๊ะ(ชุมพร)
ท้องที่ที่ขึ้น
ขึ้นอยู่ตามป่าดงดิบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
ลักษณะทั่วไป
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ ๒๐-๓๕ เมตร ลำต้น เปลา ตรง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ทึบ เปลือกสีน้ำตาลแก่ แตกเป็นร่องตามยาวลำต้น เปลือกในสีเหลือง กิ่งอ่อนมีขนทั่วไป กิ่งแก่เกลี้ยง หูใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก ใบมนแกมรูปขอบขนาน ขนาด ๓-๗ x ๗-๑๕ ซม. โคนและปลายมน หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขน เกล็ดสีขาว หรืออาจเกลี้ยง ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อ ตามปลายกิ่ง ผลกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๑.๕ ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม มีปีกยาว ๓ ปีก รูปขอบขนาน โคนหยักคอด
ลักษณะเนื้อไม้
กระพี้กับแก่นไม่ค่อยแตกต่างกัน เนื้อไม้สีเหลือง หรือสีเหลืองอมน้ำตาล เมื่อถูกอากาศนานๆ สีจะเข้มขึ้นเล็กน้อย เสี้ยนตรง เนื้อค่อนข้างหยาบ เป็นมัน ไสกบ ตบแต่งง่าย ขัดชักเงาได้ดีมาก
ความถ่วงจำเพาะ
ประมาณ ๐.๖๓
สกายสมบัติ
มีอัตราการยืดหดตัวทางด้านรัศมีประมาณร้อยละ ๓.๖๘ ทางด้านสัมผัสประมาณร้อยละ ๗.๘๐ ทางด้านยาวตามเสี้ยนประมาณร้อยละ ๐.๓๓
กลสมบัติ
เคมีสมบัติ
ความทนทานตามธรรมชาติ
ตั้งแต่ ๒.๒-๙.๗ ปี เฉลี่ยประมาณ ๖.๑ ปี
การอาบน้ำยาไม้
ประโยชน์
ไม้ ใช้ทำเสา รอด ตง ทำสะพาน และในการก่อสร้างอื่นๆ