All| Plant| Mushroom| Squid| Shell| Crab| Shrimp| Fish| Bird| Insect| Amphibian| Reptile| Mammal| Group| Wood Property
Look Forest Group
กลุ่ม:ไม้และของป่าบางชนิดในประเทศไทย LFG
 | Refresh |
Look Forest Group
Look Forest Group
[3743]
 
มะพอก
Parinari anamense
LFG
 
 
     
 
เลือกกลุ่ม
ไม้และของป่าบางชนิดในประเทศไทย
LFG
 
     
     
 
บันทึกข้อความ
ยังไม่มีบันทึก
LFG
 
     
 
มะพอก (Parinari anamense Hance ) T [3743]
ROSACEAE
 
  มะพอก(ราชบุรี,ตะวันออกเฉียงเหนือ),กระท้อนรอก(ตราด),จัด,จั๊ด(ลำปาง),ตะเลาะ,เหลอะ(ส่วย สุรินทร์), ท่าลอก(พิษณุโลก,นครราชสีมา,ปราจีนบุรี),ประดงไฟ,ประดงเลือด(ราชบุรี),พอก(อุบลราชธานี), มะคลอก(สุโขทัย,อุตรดิตถ์),มะมื่อ,หมักมื่อ(ภาคเหนือ),หมักหมอก(พิษณุโลก), LFG  
 
  
 
 
อัลบั้ม: มะพอก(Parinari anamense) LFG
 
 
ยังไม่ได้บันทึกข้อมูล
 
   
 
บทความ: มะพอก(Parinari anamense) LFG
 
 
ยังไม่ได้บันทึกข้อมูล
 
   
[3743]
มะพอก ( Parinari anamense)
ROSACEAE
มะพอก(ราชบุรี,ตะวันออกเฉียงเหนือ),กระท้อนรอก(ตราด),จัด,จั๊ด(ลำปาง),ตะเลาะ,เหลอะ(ส่วย สุรินทร์), ท่าลอก(พิษณุโลก,นครราชสีมา,ปราจีนบุรี),ประดงไฟ,ประดงเลือด(ราชบุรี),พอก(อุบลราชธานี), มะคลอก(สุโขทัย,อุตรดิตถ์),มะมื่อ,หมักมื่อ(ภาคเหนือ),หมักหมอก(พิษณุโลก),
ท้องที่ที่ขึ้น
ขึ้นประปรายในป่าเบญจพรรณโปร่ง ป่าแดง และป่าดิบแล้งทั่วไป โดยเฉพาะทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือ ในระดับสูงจากระดับน้ำทะเล ๕๐-๕๐๐ เมตร แต่มีมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะทั่วไป
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ถึงขนาดใหญ่ สูง ๑๐-๓๐ เมตร ลำต้น เปลา ตรง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ทึบ เปลือกสีน้ำตาลปนเทา เรียบ หรือแตกเป็นสะเก็ดถี่ๆ เปลือกในสีน้ำตาลแดง ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว รูปไข่หรือป้อมๆ ขนาด ๔-๙ x ๖-๑๕ ซม. โคนมนกว้างๆ อาจหยักเว้าเข้าเล็กน้อย หรือสอบเข้ากว้างๆ ปลายมน หรือหยักเป็นติ่งสั้นๆ เนื้อหนา หลังใบอ่อนมีขนสากๆ ใบแก่ค่อนข้างเกลี้ยง ท้องใบมีขนยาวสีนวลหรือสี ขาวนุ่มๆ ขอบเรียบ บริเวณที่ค่อนไปทางโคนก้านใบมีตุ่ม ๒ ตุ่ม ดอกสีขาว กลิ่นหอม ออกเป็นช่อสั้นๆ ตามปลายกิ่ง กลีบดอกมี ๕ กลีบ และกลีบรองดอกมี ๕ แฉก ผลป้อมหรือค่อนข้างกลม ขนาด ๓ x ๓-๔ ซม. ผิวแข็ง มีตุ่มเล็กๆสีเทาๆปนน้ำตาล
ลักษณะเนื้อไม้
สีเหลืองหรือชมพูอ่อน เนื้ออ่อน ค่อนข้างละเอียด เสี้ยนตรงและสม่ำเสมอ เหนียวพอประมาณ เลื่อย ไสกบ ตบแต่งไม่ยาก
ความถ่วงจำเพาะ
ประมาณ ๐.๘๒
สกายสมบัติ
กลสมบัติ
เคมีสมบัติ
ความทนทานตามธรรมชาติ
ตั้งแต่ ๑-๔ ปี เฉลี่ยประมาณ ๒.๙ ปี
การอาบน้ำยาไม้
อาบน้ำยาได้ง่าย (ชั้นที่ ๒)
ประโยชน์
ไม้ ใช้ทำกระดานฝา ฝ้า และเครื่องบน ใช้ปรุงเป็นยาต้มรับประทานแก้ประดง แก้เม็ดผื่นคันแดงทั่วตัว ปวดแสบ ปวดร้อน มีน้าเหลืองไหลซึม ใช้รับประทานและต้มน้ำอาบ เมล็ด ให้น้ำมัน ใช้สำหรับทาเครื่องเขินให้เป็นเงา และใช้ทาร่มกระดาษ กันน้ำซึม