ทิศทางโครงการไม้เศรษฐกิจ
ความต้องการใช้ไม้ในประเทศไทย สามารถประเมินได้จากภาคอุตสาหกรรมที่ใช้ไม้เป็นวัตถุดิบ
โครงการส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจ เป็นโครงการซึ่งเน้น :
การปลูกไม้รอบตัดฟันสั้นเพื่อให้ได้วัตถุดิบไม้สำหรับป้อนโรงงานอุตสาหกรรมไม้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน และกลุ่มอุตสาหกรรมไม้แปรรูป
- เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไม้ ลดการขาดดุลการค้าด้านการป่าไม้
- และเพิ่มรายได้ที่มั่นคงให้แก่ชุมชนท้องถิ่น
สาระสำคัญของแผนแม่บทนี้ ประกอบด้วย
- การประเมินความต้องการวัตถุดิบไม้ภายในประเทศ และขนาดพื้นที่เป้าหมายสำหรับการปลูกไม้เศรษฐกิจ
- การกำหนดเขตส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจ
- ชนิดไม้ที่ควรส่งเสริม
- แนวทางการพัฒนาองค์กรเพื่อการส่งเสริม และยุทธศาสตร์การส่งเสริม
- การประเมินผลกระทบ
ความต้องการไม้ใช้สอยในประเทศไทย
ความต้องการใช้ไม้ในประเทศไทย สามารถประเมินได้จากภาคอุตสาหกรรมที่ใช้ไม้เป็นวัตถุดิบซึ่งอาจจำแนกออกได้เป็น5กลุ่มหลักได้แก่อุตสาหกรรมไม้แปรรูปหรือโรงเลื่อยอุตสาหกรรมไม้อัดและไม้บางอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วนและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง
การบริโภคไม้เทียบเป็นไม้ท่อนในรอบ 1 ปี ของกลุ่มอุตสาหกรรมของประเทศ |
ลำดับ |
ประเภทอุตสาหกรรม |
เทียบเป็นไม้ท่อน (ลบ.ม.) |
รวม |
ร้อยละ |
จากไม้ท่อน |
จากไม้แปรรูป |
1 |
เยื่อและกระดาษ |
10,488,022 |
- |
10,488,022 |
47.8 |
2 |
เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน |
121,533 |
6,160,618 |
6,282,151 |
28.6 |
3 |
ไม้แปรรูป |
(5,728,590) |
- |
(5,728,590) |
(26.1) |
4 |
ก่อสร้าง |
- |
4,283,086 |
4,283,086 |
19.5 |
|
รวม |
11,519,354 |
10,443,704 |
21,963,058 |
100.0 |
|
ร้อยละ |
52.4 |
47.6 |
100.0 |
|
แหล่งที่มา : สถิติป่าไม้ ปี 2546 |
 Last updated: 2010-11-08 07:11:03
|
@ ทิศทางโครงการไม้เศรษฐกิจ |
|
|
|
|
|
|
|
เชิญท่านเป็นบุคคลแรกที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความ ทิศทางโครงการไม้เศรษฐกิจ
|