ชื่อสามัญ
ชื่อการค้า - ชื่อภาษาอังกฤษ
พิกุลป่า
Bullet  Wood , Pikun
วงศ์
ชื่อพฤกษศาสตร์
Mimusops  elengi  Linn.
SAPOTACEAE
ด้านตัดขวาง (x15)
ด้านผิวหน้าไม้
ถิ่นกำเนิด
ขึ้นประปรายอยู่ในป่าดงดิบทางภาคใต้  ภาคกลาง  และภาคตะวันออก
ลักษณะเนื้อไม้
ชั้นคุณภาพ
ลักษณะทางกายวิภาค  ที่เห็นได้ด้วยแว่นขยายขนาด 10 - 15 เท่า (handlens)
B
สีน้ำตาลแกมแดง  เสี้ยนตรง  เนื้อละเอียด  และสม่ำเสมอ  หนักและเหนียว
          พอร์เป็นแบบพอร์เดี่ยว (solitary  pore)  และพอร์แฝด (multiple  pore)  การเรียงตัวเป็นแบบพอร์ลูกโซ่ (chain) และพอร์เฉียง (pore  oblique)  การกระจายเป็นแบบกระจัดกระจาย (diffuse  porous)  พอร์ขนาดปานกลาง  ทางภายในพอร์มีไทโลส(tylose) เป็นบางพอร์  เส้นเรย์เห็นชัด  พาเรงคิมาเป็นแบบพาเรงคิมาแบบไม่ติดพอร์  (metatracheal  parenchyma)
สกายสมบัติ
7.96
940
5.58
ความแน่น (กก./ม.3)
การหดตัวด้านรัศมี (%)
การหดตัวด้านสัมผัส (%)
ความยากง่ายในการผึ่งไม้
ง่าย ค่อนข้างง่าย ยาก ยากมาก
การอบไม้
ตารางที่
1 2 3 4 5 6 7
กลสมบัติ (strength properties)
ชั้นความแข็งแรง (strength group) A แห้ง (Air-Dry) สด (Green)
แรงดัดสถิตย์
(static bending)


มอดูลัสยืดหยุ่น ( MOE )


(MPa)


15,749


แรงอัดขนานเสี้ยน (compression parallel to grain) (MPa) 69  
แรงเฉือน (shear parallel) (MPa) 15.9  
ความแข็ง (hardness) (N) 10,650  
มอดูลัสแตกร้าว ( M O R ) (MPa) 162  
ความทนทานตามธรรมชาติ
ความทนทานต่ำ (< 2 ปี)  ความทนทานปานกลาง (2 - 6 ปี)  ความทนทานสูง (6-10 ปี)  ความทนทานสูงมาก (>10 ปี)
  3.9    
การอาบน้ำยาไม้
ชั้นที่
1 2 3 4 5 6
คุณสมบัติการใช้งาน
การเลื่อย
การไส
การเจาะ
การกลึง
การยึดเหนี่ยวตะปู
การขัดเงา
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
ง่ายมาก ง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก
การใช้ประโยชน์
ใช้ในการก่อสร้างต่าง ๆ ด้ามเครื่องมือ  ทำโครงเรือเดินทะเล  พวงมาลัยเรือ  ไม้นวดข้าว  ไถ  ครก  สาก  กระเดื่อง  ทำเพลาวงล้อ  และส่วนต่าง ๆ ของเกวียน  ตัวถังรถ  ทำไม้คาน  คันธนู  หน้าไม้  คันกระสุน  หมอนรองรถไฟ  ไม้เท้า ด้ามร่ม
ทางตรง
ต้มเอาน้ำอมเป็นยากลั้วล้างปาก  รักษาโรคเกี่ยวกับเหงือกและฟัน  และเป็นยาคุมธาตุ
ทางอ้อม
เปลือก
ดอกแห้ง
ป่นทำยานัตถุ์  ใช้เป็นยาสำหรับรักษาไข้  ปวดหัว  เจ็บในคอ  ไหล่  และส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย  แก้ร้อนใน
เมล็ด
ตำให้ละเอียดทำเป็นยาเม็ดสำหรับสวนเมื่อเวลาท้องผูกเป็นพรรดึก  น้ำมันที่กลั่นได้จากเมล็ดใช้ทำอาหาร  ผสมยาและจุดไฟ
เนื้อผลสุก
ใช้รับประทาน