ชื่อสามัญ
ชื่อการค้า - ชื่อภาษาอังกฤษ
บุนนาค
Iron  wood , Indian  Rose  Chestnut , Bunnaak
วงศ์
ชื่อพฤกษศาสตร์
Mesua  ferrea  Linn.
GUTTIFERAE
ด้านตัดขวาง (x15)
ด้านผิวหน้าไม้
ถิ่นกำเนิด
ขึ้นประปรายห่าง ๆ กัน  ในป่าดงดิบชื้น  ทางภาคเหนือ  และภาคใต้ที่สูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 20 - 700 เมตร
ลักษณะเนื้อไม้
ชั้นคุณภาพ
ลักษณะทางกายวิภาค  ที่เห็นได้ด้วยแว่นขยายขนาด 10 - 15 เท่า (handlens)
A
สีแดงคล้ำเป็นมันเลื่อม  เสี้ยนค่อนข้างสน  เนื้อค่อนข้างหยาบ  แข็ง  เหนียว
          พอร์เป็นแบบพอร์เดี่ยว (solitary  pore) ส่วนมาก  พอร์แฝด (multiple  pore) มีน้อย  การเรียงตัวเป็นแบบพอร์เฉียง (pore  oblique)    การกระจายเป็นแบบกระจัดกระจาย (diffuse  porous)  พอร์ใหญ่  ทางภายในพอร์มีไทโลส (tylose) เกือบทุกพอร์   และมีสารตกค้าง (deposit) เป็นบางพอร์   เส้นเรย์เห็นชัด  พาเรงคิมาเป็นแบบพาเรงคิมาแบบไม่ติดพอร์ (metatracheal parenchyma)
สกายสมบัติ
10.22
1,100
6.37
ความแน่น (กก./ม.3)
การหดตัวด้านรัศมี (%)
การหดตัวด้านสัมผัส (%)
ความยากง่ายในการผึ่งไม้
ง่าย ค่อนข้างง่าย ยาก ยากมาก
การอบไม้
ตารางที่
1 2 3 4 5 6 7
กลสมบัติ (strength properties)
ชั้นความแข็งแรง (strength group) A แห้ง (Air-Dry) สด (Green)
แรงดัดสถิตย์
(static bending)


มอดูลัสยืดหยุ่น ( MOE )


(MPa)


10,218


แรงอัดขนานเสี้ยน (compression parallel to grain) (MPa) 54  
แรงเฉือน (shear parallel) (MPa) 14.7  
ความแข็ง (hardness) (N) 6,149  
มอดูลัสแตกร้าว ( M O R ) (MPa) 92  
ความทนทานตามธรรมชาติ
ความทนทานต่ำ (< 2 ปี)  ความทนทานปานกลาง (2 - 6 ปี)  ความทนทานสูง (6-10 ปี)  ความทนทานสูงมาก (>10 ปี)
      12.4
การอาบน้ำยาไม้
ชั้นที่
1 2 3 4 5 6
คุณสมบัติการใช้งาน
การเลื่อย
การไส
การเจาะ
การกลึง
การยึดเหนี่ยวตะปู
การขัดเงา
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
ง่ายมาก ง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก
การใช้ประโยชน์
ทางตรง
ใช้ทำหมอนรองรางรถไฟ  ก่อสร้างอาคารบ้านเรือน  สะพาน  เครื่องเรือน  ด้ามเครื่องมือ  และใช้ในการต่อเรือ  โดยมากนิยมใช้ทำกระดูกงู  กง  และเสากระโดง  ทำลูกประสัก  คราด  ครก  สาก  กระเดื่อง  ลูกหีบ  ฟันสีข้าว  เพลาเกวียน  และส่วนประกอบของล้อเกวียน  กระสวย  ไม้คาน  ใช้สำหรับกลึงแกะสลัก  พานท้ายและรางปืน  ไม้เท้า  ด้ามร่ม
แก้เสมหะในลำคอ
ทางอ้อม
กระพี้
แก้ลมในลำไส้
ราก
ใช้กระจายหนอง
เปลือก
ใช้พอกบาดแผลสด  อินเดียและพม่าใช้แก้พิษงู
ใบ
เข้ายารักษาไข้กาฬ  แก้กระหายน้ำ  บำรุงโลหิต  แก้กลิ่นตัว  และใช้ผสมสีเพื่อช่วยให้สีติดแน่น
ดอก
มาเลเซียและอินเดีย  ตำใส่บาดแผล  น้ำมันที่กลั่นจากเมล็ดใช้จุดตะเกียง  และปรุงเครื่องสำอาง
เมล็ด
ใช้เป็นยาแก้ลักปิดลักเปิด
เนื้อไม้