ชื่อสามัญ
ชื่อการค้า - ชื่อภาษาอังกฤษ
มะเกลือ
Ebony , Ma  kluea
วงศ์
ชื่อพฤกษศาสตร์
Diospyros  mollis  Griff.
EBENACEAE
ด้านตัดขวาง (x15)
ด้านผิวหน้าไม้
ถิ่นกำเนิด
ขึ้นในป่าเบญจพรรณตามที่ราบทั่วไป  ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 5 - 500 เมตร  มีมากในจังหวัดราชบุรี  เพชรบุรี  ลพบุรี  สระบุรี  นครราชสีมา
ลักษณะเนื้อไม้
ชั้นคุณภาพ
ลักษณะทางกายวิภาค  ที่เห็นได้ด้วยแว่นขยายขนาด 10 - 15 เท่า (handlens)
A
แก่นสีดำ  เสี้ยนสน  เนื้อละเอียด  เป็นมัน  แข็งมาก
          พอร์ส่วนใหญ่เป็นแบบพอร์แฝด (multiple  pore)  พอร์เดี่ยว (solitary  pore) มีน้อย  แบบของการเรียงตัวไม่เด่นชัด  การกระจายเป็นแบบกระจัดกระจาย (diffuse  porous)  พอร์เล็กมาก  เส้นเรย์เห็นชัด   มีสารตกค้าง (deposit) สีขาวแทรกในเส้นเรย์  พาเรงคิมาเป็นแบบพาเรงคิมาแบบไม่ติดพอร์ (metatracheal  parenchyma)
สกายสมบัติ
1,311 - 1,350
-
-
ความแน่น (กก./ม.3)
การหดตัวด้านรัศมี (%)
การหดตัวด้านสัมผัส (%)
ความยากง่ายในการผึ่งไม้
ง่าย ค่อนข้างง่าย ยาก ยากมาก
การอบไม้
ตารางที่
1 2 3 4 5 6 7
กลสมบัติ (strength properties)
ชั้นความแข็งแรง (strength group) A แห้ง (Air-Dry) สด (Green)
แรงดัดสถิตย์
(static bending)


มอดูลัสยืดหยุ่น ( MOE )


(MPa)


16,083


แรงอัดขนานเสี้ยน (compression parallel to grain) (MPa) 95  
แรงเฉือน (shear parallel) (MPa) 21.8  
ความแข็ง (hardness) (N) 10,611  
มอดูลัสแตกร้าว ( M O R ) (MPa) 175  
ความทนทานตามธรรมชาติ
ความทนทานต่ำ (< 2 ปี)  ความทนทานปานกลาง (2 - 6 ปี)  ความทนทานสูง (6-10 ปี)  ความทนทานสูงมาก (>10 ปี)
      15.0
การอาบน้ำยาไม้
ชั้นที่
1 2 3 4 5 6
คุณสมบัติการใช้งาน
การเลื่อย
การไส
การเจาะ
การกลึง
การยึดเหนี่ยวตะปู
การขัดเงา
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
ง่ายมาก ง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก
การใช้ประโยชน์
ใช้ทำเครื่องเรือน  เครื่องใช้อย่างดี  กรอบกระจกประดับมุก  ที่รองภาชนะต่าง ๆ กี๋  เครื่องดนตรี  เครื่องเขียน  ลูกคิด  ด้ามเครื่องมือ  ตัวไพ่นกกระจอก  ตะเกียบ  ไม้ถือ  ตัวหมากรุก  ใช้บุผนังที่สวยงาม  ทำลูกประสัก  ฟันสีข้าว  กระสวย  ทำหวี  ใช้เป็นไม้สำหรับกลึงแกะสลัก  ไม้เท้า  ด้ามร่ม
ทางตรง
ฝนกับน้ำซาวข้าวรับประทานแก้อาเจียน  แก้ลม
ทางอ้อม
ราก
ปิ้งไฟให้เหลืองจัดใส่รวมกับน้ำตาลสดจะเกิดแอลกอฮอล์ภายใน 24 ชั่วโมง  เรียกว่า "น้ำตาลเมา"
เปลือก
สดโขลกทั้งลูกสัก 5 - 6 ผล  ขยำกับน้ำนมวัวสดหรือกะทิสดประมาณ 1 ถ้วยชา  กรองเอาน้ำรับประทานเป็นยาถ่ายพยาธิตัวตืดหรือไส้เดือนได้ดีมาก  และให้สีดำใช้ย้อมผ้าและไหม
ผล