ชื่อสามัญ
ชื่อการค้า - ชื่อภาษาอังกฤษ
มังคะ
Kataong , Makha
วงศ์
ชื่อพฤกษศาสตร์
Cynometra  spp.
LEGUMINOSAE
ด้านตัดขวาง (x15)
ด้านผิวหน้าไม้
ถิ่นกำเนิด
ขึ้นกระจัดกระจายตามป่าชายหาดและบริเวณชายป่าโกงกาง  ด้านที่มีเขตติดต่อกับป่าดิบตามชายฝั่งทะเลทางภาคใต้และทางภาคตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะเนื้อไม้
ชั้นคุณภาพ
ลักษณะทางกายวิภาค  ที่เห็นได้ด้วยแว่นขยายขนาด 10 - 15 เท่า (handlens)
A
สีน้ำตาล   เสี้ยนตรง  เนื้อเป็นมันวาว  ละเอียดปานกลาง
          พอร์เป็นแบบพอร์เดี่ยว (solitary pore)  และพอร์แฝด (multiple pore)   แบบของการเรียงตัวไม่เด่นชัด   การกระจายเป็นแบบกระจัดกระจาย (diffuse porous)  พอร์ขนาดปานกลาง   เส้นเรย์เห็นชัด มีสารตกค้าง (deposit) สีขาวในเส้นเรย์  พาเรงคิมาเป็นแบบพาเรงคิมาแบบปีก  (aliform  parenchyma)   และพาเรงคิมาแบบปีกต่อ (confluent  parenchyma)
สกายสมบัติ
10.60
6.19
955
ความแน่น (กก./ม.3)
การหดตัวด้านรัศมี (%)
การหดตัวด้านสัมผัส (%)
ความยากง่ายในการผึ่งไม้
ง่าย ค่อนข้างง่าย ยาก ยากมาก
การอบไม้
ตารางที่
1 2 3 4 5 6 7
กลสมบัติ (strength properties)
ชั้นความแข็งแรง (strength group) A แห้ง (Air-Dry) สด (Green)
แรงดัดสถิตย์
(static bending)


มอดูลัสยืดหยุ่น ( MOE )


(MPa)


14,210


แรงอัดขนานเสี้ยน (compression parallel to grain) (MPa) 67  
แรงเฉือน (shear parallel) (MPa) 15.3  
ความแข็ง (hardness) (N) 8,591  
มอดูลัสแตกร้าว ( M O R ) (MPa) 136  
ความทนทานตามธรรมชาติ
ความทนทานต่ำ (< 2 ปี)  ความทนทานปานกลาง (2 - 6 ปี)  ความทนทานสูง (6-10 ปี)  ความทนทานสูงมาก (>10 ปี)
      11.1
การอาบน้ำยาไม้
ชั้นที่
1 2 3 4 5 6
คุณสมบัติการใช้งาน
การเลื่อย
การไส
การเจาะ
การกลึง
การยึดเหนี่ยวตะปู
การขัดเงา
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
ง่ายมาก ง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก
การใช้ประโยชน์
ทางตรง
ใช้ในการก่อสร้างต่าง ๆ ได้ดี  ทำด้ามเครื่องมือ  เครื่องใช้ต่าง ๆ
ทางอ้อม
 
-