ชื่อสามัญ
ชื่อการค้า - ชื่อภาษาอังกฤษ
พฤกษ์
Indian  Walnut , Kokko , Siris , Phruek
วงศ์
ชื่อพฤกษศาสตร์
Albizzia  lebbek  (Linn.) Benth.
LEGUMINOSAE
ด้านตัดขวาง (x15)
ด้านผิวหน้าไม้
ถิ่นกำเนิด
ขึ้นอยู่ตามป่าเบญจพรรณชื้นและแล้งทางภาคเหนือ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ตะวันออกเฉียงใต้และภาคกลาง
ลักษณะเนื้อไม้
ชั้นคุณภาพ
ลักษณะทางกายวิภาค  ที่เห็นได้ด้วยแว่นขยายขนาด 10 - 15 เท่า (handlens)
B
สีน้ำตาลหรือน้ำตาลเข้มมีสีอ่อนกว่าสีพื้นสลับเป็นลาย  เสี้ยนสน  เป็นคลื่น  เนื้อหยาบ  แต่สม่ำเสมอ
          พอร์เป็นแบบพอร์เดี่ยว (solitary  pore)  มีพอร์แฝด (multiple  pore) ไม่มากนัก  แบบของการเรียงตัวไม่เด่นชัด  การกระจายเป็นแบบกระจัดกระจาย (diffuse  porous)  พอร์ใหญ่  มีสารตกค้าง (deposit) เป็นบางพอร์  เส้นเรย์เห็นชัดและขาดเป็นช่วง ๆ   พาเรงคิมาเป็นแบบพาเรงคิมาแบบปีก (aliform  parenchyma) พาเรงคิมาแบบปีกต่อ (confluent  parenchyma) และพาเรงคิมาแบบปลายฤดู (terminal  parenchyma)
สกายสมบัติ
-
820
-
ความแน่น (กก./ม.3)
การหดตัวด้านรัศมี (%)
การหดตัวด้านสัมผัส (%)
ความยากง่ายในการผึ่งไม้
ง่าย ค่อนข้างง่าย ยาก ยากมาก
การอบไม้
ตารางที่
1 2 3 4 5 6 7
กลสมบัติ (strength properties)
ชั้นความแข็งแรง (strength group) A แห้ง (Air-Dry) สด (Green)
แรงดัดสถิตย์
(static bending)


มอดูลัสยืดหยุ่น ( MOE )


(MPa)


12,278


แรงอัดขนานเสี้ยน (compression parallel to grain) (MPa) 54  
แรงเฉือน (shear parallel) (MPa) 22.4  
ความแข็ง (hardness) (N) 6,718  
มอดูลัสแตกร้าว ( M O R ) (MPa) 113  
ความทนทานตามธรรมชาติ
ความทนทานต่ำ (< 2 ปี)  ความทนทานปานกลาง (2 - 6 ปี)  ความทนทานสูง (6-10 ปี)  ความทนทานสูงมาก (>10 ปี)
  5.0    
การอาบน้ำยาไม้
ชั้นที่
1 2 3 4 5 6
คุณสมบัติการใช้งาน
การเลื่อย
การไส
การเจาะ
การกลึง
การยึดเหนี่ยวตะปู
การขัดเงา
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ง่าย ค่อนข้างง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก ยากมาก
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
ง่ายมาก ง่าย ปานกลาง ค่อนข้างยาก ยาก
การใช้ประโยชน์
ทางตรง
ใช้ในการก่อสร้างต่าง ๆ  ทำเรือ  งานแกะสลัก  ลูกหีบน้ำมัน  เครื่องมือกสิกรรม  ไม้ถือ  ทำเครื่องเรือนชั้นดี  ทำบัวประกบฝา  พานท้ายเรือ  ทำดุมล้อ  ซี่ล้อ  เกวียน  ตัวถังรถและเกวียน
มีรสฝาด  เป็นยาสมาน  เช่น  รักษาแผลในปากและลำคอ  เหงือก  หรือฟันผุ  รักษาริดสีดวงทวาร  แก้ท้องร่วง    ห้ามโลหิตตกใน
ทางอ้อม
เปลือกและเมล็ด
มีสรรพคุณเป็นยาใช้ในการดับพิษ
ใบ
ใช้รักษากลากเกลื้อนและโรคเรื้อน  อินเดียใช้ทำยารักษาเยื่อตาอักเสบ
เมล็ด
ให้น้ำฝาดชนิด Pyrogallol  และ Catechol
เปลือก