กระเช้าสีดา Aristolochia indica ARISTOLOCHIACEAE กระเช้าสีดา(กลาง) |
กระดาด Alocasia indica ARACEAE กระดาด(กรุงเทพฯ); คือ, โทป้ะ(กะเหรี่ยง แม่ฮองสอน); บอนกาวี(ยะลา); เผือกกะลา, มันโทป้าด(แม่ฮองสอน); เผือกโทป้าด(เงี้ยว แม่ฮองสอน) |
กระดาดแดง Alocasia indica ARACEAE var. metallica Schott กระดาดแดง(กรุงเทพฯ) |
กระถินนา Xyris indica XYRIDACEAE กระถินนา(จันทบุรี),กระถินทุ่ง(ตราด),หญ้าบัว(ปราจีนบุรี),หญ้าขี้กราก(สระบุรี), |
กอมก้อห้วย Anisomeles indica LABIATAE = Epimeredi indicus Roth |
ก่อลิ้ม Castanopsis indica FAGACEAE ก่อลิ้ม, ก่อหยุม(เหนือ); ก่อตี(เพชรบูรณ์); ก่อหลวง(น่าน); มะก่อหมู(เชียงใหม่) |
กะตังใบ Leea indica LEEACEAE กะตังใบ(กรุงเทพฯ,จันทบุรี,เชียงใหม่),คะนางใบ(ตราด),ช้างเข็ง(เงี้ยว),ตองจ้วม,ตองต้วม(ภาคเหนือ), บังบายต้น(ตรัง) |
ขลู่ Pluchea indica COMPOSITAE ขลู่(ภาคกลาง),ขลู(ภาคใต้),หนาดงั่ว,หนาดงิ้ว,หนาดวัว,หนาดงัว(อุดรธานี) |
ข้าวสารน้อย Maesa indica MYRSINACEAE ข้าวสารน้อย,มะพับ(ภาคเหนือ) |
เข็มป่า Pavetta indica RUBIACEAE เข็มป่า(ภาคกลาง) |
ควินิน Azadirachta indica MELIACEAE ควินิน(ทั่วไป); สะเดาอินเดีย(กรุงเทพฯ) |
คันคาก Rhaphiolepis indica ROSACEAE คันคาก,เม้งสะเกริม(ตะวันออก),กับแก,พังกี่,อะห้วย(ภาคเหนือ) |
คันธุลี Tylophora indica ASCLEPIADACEAE คันธุลี,เถาหนัง(สุราษฎร์ธานี),ขุนพูม(นครพนม),ท้าวพันราก,หน่วยไส้เดือน(ชุมพร) |
เจตมูลเพลิงแดง Plumbago indica PLUMBAGINACEAE เจตมูลเพลิงแดง(ภาคกลาง),ตั้งชู้โว้(กระเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน),ปิดปิวแดง(ภาคเหนือ),ไฟใต้ดิน(ภาคใต้), อุบะกูจ๊ะ(มลายู ปัตตานี),คุยวู่(กระเหรี่ยง กาญจนบุรี) |
ดอกดินแดง Aeginetia indica OROBANCHACEAE ดอกดินแดง(ตราด); ซอซวย(กะเหรี่ยง แม่ฮองสอน); ปากจะเข้(ตะวันออกเฉียงเหนือ); สบแล้ง(สงขลา); หญ้าดอกขอ(เลย) |
ตะขบป่า Flacourtia indica FLACOURTIACEAE ตะขบป่า(ภาคกลาง),ตานเสี้ยน,มะเกวนนก,มะเกว๋นป่า(ภาคเหนือ) |
ตานทราย Waltheria indica STERCULIACEAE ตานทราย(ประจวบคีรีขันธ์),หญ้าหัวนกเค้า(เชียงใหม่) |
ตำแยแมว Acalypha indica EUPHORBIACEAE = A. chinensis Benth. ตำแยตัวผู้, ตำแยแมว(กลาง), หานแมว(เหนือ) |
ตำแยแมว Acalypha chinensis EUPHORBIACEAE = A. indica Linn. |
ตำลึงตัวผู้ Bryonia leucocarpa CUCURBITACEAE = Zehneria indica Keraud.-Aymo. |
ตำลึงตัวผู้ Zehneria indica CUCURBITACEAE ตำลึงตัวผู้(กาญจนบุรี) |
เต้าดง Macaranga indica EUPHORBIACEAEA เต้าดง,เต้าเลื่อม(ภาคเหนือ),หู้ช้าง(ปราจีนบุรี) |
เถาอรคนธ์ Tetracera indica DILLENIACEAE เถาอรคนธ์(ภาคกลาง),เครือปด(ชุมพร),ปดลื่น(ยะลา,ปัตตานี),ย่านปด(ภาคใต้),ย่านเปล้า(ตรัง), รสสุคนธ์แดง,อรคนธ์(กรุงเทพฯ),อุเบ๊ะสะปัลละเมเยาะ(มลายู นราธิวาส) |
ไทรตอก Ficus indica MORACEAE ไทรตอก(นครศรีธรรมราช) |
ปีเช้า Aster indicus COMPOSITAE = Kalimeris indica Sch. Bip. |
ปีเช้า Kalimeris indica COMPOSITAE ปีเช้า(จีน) |
ผักตำลึง Coccinia indica CUCURBITACEAE = C. grandis Voigt |
พันงูเขียว Stachytarpheta indica VERBENACEAE พันงูเขียว,สารพัดพิษ,สี่บาท(ภาคกลาง),เจ๊กจับกบ(ตราด),เดือยงู,พระอินทร์โปรย(ชุมพร), ลังถึ่งดุ๊ก(กระเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน),หญ้าหนวดเสือ(ภาคเหนือ),หญ้าหางงู(ภาคใต้) |
พิษนาศน์ Artemisia indica COMPOSITAE var. heyneana Pampan. พิษนาศน์(ราชบุรี) |
พุทธรักษา Canna indica CANNACEAE พุทธรักษา(กลาง) |