กลุ่ม:ป่าชายเลนบ้านเปร็ดใน LFG
 | Refresh |
Look Forest Group
Look Forest Group
[1387]
 
พังกาหัวสุมดอกขาว
Bruguiera sexangula
LFG
 
 
     
 
บันทึกข้อความ
ยังไม่มีบันทึก
LFG
 
     
 
พังกาหัวสุมดอกขาว (Bruguiera sexangula Poir. ) T [1387]
RHIZOPHORACEAE
-
 
  ประสักขาว, ประสักหนู(จันทบุรี, ตราด); ขลัก(ชุมพร); บาการ์ (มลายู-นราธิวาส) LFG  
 
  
 
 
อัลบั้ม: พังกาหัวสุมดอกขาว(Bruguiera sexangula) LFG
 
   
   
 
บทความ: พังกาหัวสุมดอกขาว(Bruguiera sexangula) LFG
 
 

ประโยชน์ของพังกาหัวสุมดอกขาว

เขตการกระจายและลักษณะทางนิเวศ
 
   
[1387]
พังกาหัวสุมดอกขาว ( Bruguiera sexangula)
RHIZOPHORACEAE
ประสักขาว, ประสักหนู(จันทบุรี, ตราด); ขลัก(ชุมพร); บาการ์ (มลายู-นราธิวาส)
ท้องที่ที่ขึ้น
ขึ้นอยู่เป็นหมู่ๆในป่าชายเลนทั่วไป
ลักษณะทั่วไป
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ ๑๐-๑๕ เมตร โตวัดรอบประมาณ ๖๐-๑๒๐ เซนติเมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ทึบ เปลือกหนาสีเทา แตกเป็นร่องไปตามลำต้น ใบรูปมนหรือใบมนแกมรูปบรรทัด กว้าง ๓-๖ ซม. ยาว ๘-๑๓ ซม. ปลายและโคนแหลม หูใบสีเขียวหรือสีเหลือง ยาว ๓-๔ ซม. ดอกสีเหลือง กลีบดอกยาวประมาณ ๑.๕ ซม. ตามขอบมีขนหนาแน่น ลำต้นอ่อนคล้ายบุหรี่ซิการ์ โตประมาณ ๑.๕ ซม. สูง ๖-๘ ซม.
ลักษณะเนื้อไม้
สีน้ำตาลแกมแดง เสี้ยนสน เนื้อค่อนข้างหยาบ เลื่อย ผ่าไม่ยาก ผึ่งไม่ยาก แข็งปานกลาง
ความถ่วงจำเพาะ
ประมาณ ๑.๐๓
สกายสมบัติ
กลสมบัติ
เคมีสมบัติ
ความทนทานตามธรรมชาติ
การอาบน้ำยาไม้
ประโยชน์
ไม้ ใช้ทำเสาโป๊ะ หลักหอยแมลงภู่ ส่วนมากทำฟืน และถ่าน ใช้ในการก่อสร้างที่อยู่ในที่ร่มได้